CONSIDERATIONS TO KNOW ABOUT ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Considerations To Know About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Considerations To Know About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

สิ่งที่น่าสนใจเพิ่มเติมหลังผู้วิจัยได้สัมผัสวิถีชุมชนแต่ละแห่ง คือมิติด้านภูมิประเทศและวัฒนธรรมมีส่วนสำคัญต่อโอกาสทางการศึกษาของเด็กยากจนเช่นกัน จากการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน ณ โรงเรียนชายขอบหรือโรงเรียนที่มีบริเวณติดชายแดนประเทศเพื่อนบ้านพบว่า เด็กต่างชาติอย่างพม่าและลาวประสบปัญหาค่าใช้จ่ายเรื่องการเดินทางข้ามฝั่งมาเรียนที่ไทย บางครั้งต้องหยุดเรียนเพื่อกลับบ้านไปช่วยผู้ปกครองทำงานหาเงิน เช่นเดียวกับนักเรียนบนดอย ที่จำเป็นต้องขาดเรียนไปช่วยงานครอบครัวเมื่อถึงฤดูเพาะปลูกหรือฤดูเก็บเกี่ยว

"ปลดล็อกกรุงเทพฯ" เมืองหลวงแห่งความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

สถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในประเทศไทย

“แต่ละภาคส่วนจุดเด่นแตกต่างกัน ส่วนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จุดเด่นอยู่ที่ความคล่องตัวเมื่อทำงานกับภาคประชาสังคม มีอำนาจสั่งการมีการกำหนดโครงสร้างการทำงานตามลำดับขั้น มีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ประสานงานกับภาครัฐและเอกชนได้ง่าย ส่วนภาครัฐมีอำนาจสั่งการ สามารถวางรากฐานที่เชิงนโยบายและโครงสร้างการทำงานตามลำดับขั้น มีทรัพยากรเป็นของตนเอง แต่มีความไม่คล่องตัวเนื่องจากระเบียบวิธีทางงบประมาณของภาครัฐ ขณะที่ภาคประชาสังคมจะขาดอำนาจในการสั่งการโดยตรง ขณะเดียวกันภาคประชาสังคมก็ทำงานแนวราบได้ดี แต่ขาดการเชื่อมโยงกับภาครัฐในการช่วยเหลือน้องๆ สุดท้ายภาควิชาการทำให้เกิดความร่วมมือที่หลากหลาย”

สร้างความรับผิดชอบด้วยระบบรุ่นพี่ดูแลรุ่นน้อง 

ดร.ไกรยส ภัทราวาท : พลังของทุกคน คือ ผู้เปลี่ยนเกมความเสมอภาคการศึกษาอย่างแท้จริง

เพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม รวมถึงภาคประชาชน ควรมีส่วนร่วมในการหาแนวทางแก้ไขให้ช่องว่างของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาลดลง เพื่ออนาคตที่ดีของเยาวชน และสังคมไทยในภายภาคหน้า

การปฏิรูประบบค่าปรับในกฎหมายไทยเพื่อประสิทธิภาพในการลงโทษและความเป็นธรรมในสังคม

แผนกลยุทธ์/แผนการดำเนินงาน แผนกลยุทธ์

This cookie identifies the supply of traffic to the location - so Google Analytics can convey to web page proprietors exactly where site visitors came from when arriving on the positioning. The cookie incorporates a daily life span of six months which is up-to-date anytime knowledge is distributed to Google Analytics.

โจทย์เรื่องความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเป็นสิ่งที่สังคมไทยเผชิญมานับหลายสิบปี โดยเฉพาะความเหลื่อมล้ำระหว่างโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดใหญ่ไม่มีทีท่าว่าจะร่นระยะเข้าใกล้กันได้เลย กลับกัน มันค่อยๆ ทิ้งห่างมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งด้านพื้นที่ บุคลากร การจัดสรรงบประมาณที่คิดจากรายหัวนักเรียน และติดข้อจำกัดเรื่องกลไกกติกาที่ทำให้องค์กรท้องถิ่นไม่สามารถเข้ามาช่วยเหลือโรงเรียนในพื้นที่ตนเองได้มากขึ้น

คลื่น “ความเหลื่อมล้ำ” ทางการศึกษา ซัดเด็กไทยให้หายไประหว่างทาง ความยากจนซ้ำเติม “เด็กหลุดจากระบบ”

ส.ต.หญิง สุธัญญา แตงทอง นักศึกษาครูของโครงการพัฒนาครูในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในถิ่นทุรกันดารที่มีความตั้งใจและมุ่งมั่นไปเรียนรู้เพื่อกลับมาพัฒนาห้องเรียนอย่างที่ตั้งใจ

iSEE ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

Report this page